Notifications

You are here

อีบุ๊ค

การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในแต่ละช่...

TNRR

Description
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การจัดสวัสดิการสังคมสำ หรับผู้สูงอายุในแต่ละช่วงวัย ความต้องการ การจัดสวัสดิการสังคมสำ หรับผู้สูงอายุแต่ละช่วงวัยและเพื่อกำ หนดรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสำ หรับผู้สูงอายุแต่ละช่วงวัยของ ผู้สูงอายุทั่วประเทศ โดยดำ เนินการตามเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำ นักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 12 การดำ เนินการวิจัยในครั้งนี้ได้ศึกษาโดยแบ่งผู้สูงอายุเป็น 3 ช่วงวัย ได้แก่วัยต้น (อายุ60-69 ปี) วัยกลาง (70-79 ปี) และ วัยปลาย(80 ปีขึ้นไป) ใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบผสานวิธีโดยมีการศึกษาเชิงปริมาณเป็นหลักใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการจัดชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำ นวน 2,808 คน และการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นตัวประกอบรอง มีการกำ หนดผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพาะเจาะจง จำ นวน 785 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสนทนากลุ่ม แนวคำถามการประชุมกลุ่มย่อย และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยสถิติจำ นวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test และ Correlation และ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มและการประชุมกลุ่มย่อยในรูปแบบของ การพรรณนาความ จากการดำ เนินการวิจัย พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับสวัสดิการที่รัฐจัดให้ซึ่งเป็นสวัสดิการตามกฎ หรือข้อบังคับตามกฎหมาย และได้ใช้สวัสดิการดังกล่าว หากแต่ยังมีผู้สูงอายุบางส่วนที่ไม่ได้ใช้สวัสดิการตามกฎหมายเนื่องจากไม่ทราบว่ามีเมื่อกล่าวถึงสวัสดิการ ตามรายด้าน พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับการจัดบริการสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพตามกฎหมายมากที่สุดซึ่งส่วนใหญ่ได้รับเป็นราย บุคคล ส่วนสวัสดิการเกี่ยวกับการบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ในชุมชนแก่ผู้สูงอายุ สวัสดิการเกี่ยวกับบริการข้อมูลข่าวสาร สวัสดิการเกี่ยวกับการบริการทางสังคม ได้รับการจัดบริการในภาพกว้างไม่เฉพาะเจาะจง ส่วนสวัสดิการเกี่ยวกับด้านรายได้และ การออม สวัสดิการเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมทางสังคม ส่วนใหญ่ได้รับเป็นกลุ่มและขับเคลื่อนโดยองค์กรทางสังคมที่ชุมชนร่วมกับ รัฐร่วมกันจัดตั้ง ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุส่วนสวัสดิการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่ยังไม่มีการกล่าวถึงการดำ เนินการ จัดสวัสดิการด้านนี้มากนัก พบเพียงบางพื้นที่ที่มีการดำ เนินการ สำ หรับปัจจัยที่ทำ ให้การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุประสบผลสำ เร็จ ได้แก่ C4MEPPคือการสื่อสารที่ดีการมีบุคลากร งบประมาณ สิ่งอำ นวยความสะดวกและการบริหารจัดการที่ดีพร้อมดำ เนินการ หากแต่ในเรื่องของการเบิกจ่ายงบประมาณยังมีข้อจำกัดในการจัดสวัสดิการบางด้าน เช่น สวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย สำ หรับความต้องการสวัสดิการของผู้สูงอายุตามช่วงวัย พบว่า ผู้สูงอายุมีความต้องการสวัสดิการในด้านการศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05ด้านการมีส่วนร่วมกิจกรรมทางสังคมและด้านรายได้และการออมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ผลการสำ รวจยังพบว่าการจัดสวัสดิการทุกด้านมีความจำ เป็นต้องจัดควบคู่กัน เพราะผลการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างสวัสดิการด้านต่างๆ พบว่ามีอิทธิพลต่อกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสรุป การจัดสวัสดิการจำ เป็นต้องจัดให้ครอบคลุมทุกด้านและจัดให้เหมาะสมสำ หรับแต่ละช่วงวัยโดยคำ นึงถึงสมรรถนะ ทางร่างกายและความจำ เป็นในการดำ รงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ <br><br>The purpose of this research is to identify the situation of social welfare for the elderly in different ages. Demand on elderly social welfare different ages. And to determine the form of social welfare for the elderly in different ages. This research study the elderly across the country. By the Accountability of The Technical Promotion and Support Offices 1-12 The research conducted in this study were divided into three age groups, including seniors early age (age 60-69 years), middle aged (70-79 years) and late adulthood (80 years), Used Mixed Method research and mainly quantitative. Used a stratified random sampling method.Thesampleof 2,808 people.And about qualitative study intosecondary face.The data is assigned a specificnumberof 785 people.The tools include questionnaires, focus groups. The guide line of questioning sessions And in-depth interviews. Data were analyzed by quantitative statistics with percentage, standard deviation, t-test,F-test and Correlationand qualitative data analysis by content analysis. This project involves discovering, Most elderly received and used the welfare service, whichis welfare state provided by the rules, law or regulation. But there are some elderly who donotuse welfare because they donot know that. When it comes to the welfare aspects. The elderly Most have been held on health, welfare services in legal , which have been individually. About Welfare on the educational services and community learning for the elderly, Welfare on information services About social welfare services. Have been arranged in a non-specific. Welfare on The benefitson the income and savings. Welfareon regarding participation in social activities. Most have been driven by social groups and communities. which establishment by a group of seniors. Senior Citizens Club The welfareof theresidents. Most also discussed theimplementationof welfarethis much. Just found someareas that have been implemented. Among the factors that make the welfare of the elderly, including C4MEPP success is good communication with the personnel budget. Facility And better management and operation. But in a matter of refuse, the budget is still limited in some areas, such as welfare benefits and housing. For the welfare needs of elderly by age showed that the elderly welfare needs in education, which the difference was statistically significant at the .05 level. The participation by stakeholders.And the income and savings. Different levels of statistical significance at the 01 level. In addition, the survey also found that the welfare of all the necessary arrangements together. The study found that the relationship between welfare influence each other. The level of statistical significance at the 01 level. In summary, the welfare needs to cover all aspects. And provide appropriate for different ages. Taking into account the physical capacity and the need for daily living of the elderly.

Date of Publication :

02/2023

Publisher :

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

Category :

รายงานการวิจัย

Total page :

77012 pages


เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้คุกกี้ (Cookie) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ