Description
บทความนี้เป็นการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกและเศษปาล์มน้ำมันที่เหลือจากกระบวนการผลิตที่สามารถนำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงได้ เพื่อเป็นแหล่งเชื้อเพลิงสำหรับการผลิตพลังงานไฟฟ้า จากผลการศึกษาอัตราส่วนของเชื้อเพลิงชีวมวล พบว่าเชื้อเพลิงชีวมวล ผลิตได้ทั้ง 3 อัตราส่วน ซึ่งประกอบด้วย ขยะพลาสติก : ถ่านทะลายปาล์มน้ำมัน โดยมีตัวประสานคือแป้งมัน อัตราส่วนที่ทำการศึกษานี้ได้อัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดคือ อัตราส่วน 1:1 เนื่องจากเป็นอัตราส่วนที่มีค่าความร้อนสูงสุด เวลาในการเผาไหม้นานที่สุดคือ 164 นาที ในขณะที่ค่าความชื้นน้อยที่สุดคือร้อยละ 1.77 ค่าความหนาแน่นคือ 1035.07 kg/m3 ดังนั้นค่าความร้อนของเชื้อเพลิงชีวมวล ที่ผลิตได้พบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมนี้ ให้ค่าพลังงานความร้อนสูงที่สุดคือ 28.55 MJ/kg การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล ยังเป็นแนวทางในการสร้างรายได้ให้กับชุมชนและลดปัญหาด้านการจัดการขยะได้อีกด้วย<br><br>This paper proposes the refuse-derived-fuel technologies from plastic waste and palm oil residues from the production process that can be used as fuel for electricity generation. From the results of the biomass fuel ratio; there are 3 models of biomass fuels: plastic : charcoal palm oil with tapioca flour and lime used as a binder. The ratio of the optimal ratio is 1: 1 because it is the ratio of the maximum heating. The longest burning time was 164 minutes, while the lowest moisture content was 1.77%. The density was 1035.07 kg / m3. Therefore, the biomass heating of the production has found that this ratio is appropriate. The highest heat energy value was 28.55 MJ / kg. Biomass production, It is also a way to generate revenue for the community and reduce the problem of waste management as well.
Date of Publication :
02/2023
Publisher :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
Category :
รายงานการวิจัย
Total page :
77012 pages
People Who Read This Also Read