Notifications

You are here

อีบุ๊ค

การจัดการปัญหามลพิษทางอากาศจากการเกษตรโดยกระบวนการ...

TNRR

Description
การวิจัยเรื่อง การจัดการปัญหามลพิษทางอากาศจากการเกษตรโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบที่สามารถเป็นตัวอย่างของการใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อจัดการปัญหามลพิษทางอากาศจากการเกษตรในชุมชน ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศจากการเกษตรโดยกระบวนการมีส่วนร่วมประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การปรับกระบวนทัศน์ของชาวบ้านต่อชุมชน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาปัญหามลพิษทางอากาศจากชีวมวล ขั้นตอนที่ 3 การให้ประชาชนและนักศึกษาการร่วมกันออกแบบทางเลือกในการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ ได้แก่ การแก้ปัญหามลพิษทางอากาศด้วยเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน การเพิ่มความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหามลพิษทางอากาศ และการนำชีวมวลที่เหลือทิ้งจากการเกษตรมาเปลี่ยนสภาพเป็นพลังงานทดแทน และขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการแก้ปัญหาแบบบูรณาการฯ ได้แก่ การตรวจประเมินและเฝ้าระวังปัญหามลพิษทางอากาศจากการเกษตรในชุมชน การนำชีวมวลจาการเกษตร มาใช้ในการผลิตโคมไฟ 700 ปี การนำฟางข้าวและตอซังข้าวมาใช้ประโยชน์ในเป็นตัวกลางในการเพาะเห็ดการ และนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักจากชีวมวลเพื่อใช้ในการเกษตร<br><br>This research entitle of air pollution management from agriculture by participative approach based on sufficiency economy : Muangkaen Pattana municipality Chiangmai province.. The major objective of this research is to construct a model for managing air pollution by community on the sufficient economical based, which self-done by the local people with continuously and long lasting. The result found that : The patterns in the integration of educational management for locality to solve air pollution problems consist of 4 steps, the first one was the paradigm adjustment of students and people to the community. The second step was the air pollution problems study based from biomass in a community. The third step was the alternative model in solving the air pollution problems which designed by the people and the students in the community such as a simple way in air pollution solving technology, upgraded the understanding and the knowledgement about an air pollution problem to the entrepreneurship in that community and the alternative energy that produced from agricultural biomass. The fourth step was operating the integrated such as the monitoring and evaluation air pollution management from agriculture in that community, the take advantage of biomass transform into the traditional 700-year lamp event and the renewable energy for using in mushroom production process and using agricultural bio-mass for making fertilizer for agricultural activities.

Date of Publication :

02/2023

Publisher :

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

Category :

รายงานการวิจัย

Total page :

77012 pages


เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้คุกกี้ (Cookie) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ