Description
โครงการวิจัยนี้จะท าการวิจัยและพัฒนาต้นแบบรถไมโครซิตี้บัสไฟฟ้า ส าหรับระบบขนส่งสาธารณะในเมือง โดยต้นแบบรถไมโครบัสไฟฟ้าที่ถูกพัฒนาขึ้นนี้จะใช้ระบบกักเก็บพลังงานแบบผสมระหว่างระบบกักเก็บพลังงานหลักแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอออนและระบบกักเก็บพลังงานเสริมอัลตร้าคาปาซิเตอร์ ขั้นตอนในการด าเนินการวิจัยเริ่มจากการออกแบบและผลิตตัวถังรถไมโครบัสไฟฟ้า ขนาดความยาว 8 เมตร ที่สายการผลิตของ บริษัท ช ทวี จ ากัด (มหาชน) ขณะเดียวกันท าการออกแบบและพัฒนาต้นแบบระบบกักเก็บพลังงานแบบผสม, ระบบส่งก าลังที่ประกอบด้วยมอเตอร์ลากจูงซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวรขนาด 50kW ติดตั้งไว้ที่เพลาขับด้านหลัง ควบคุมความเร็วและแรงบิดโดยอินเวอร์เตอร์ขับเคลื่อน, ระบบควบคุมตัวรถ, และชิ้นส่วนมาตรฐานอื่นๆ ท าการประกอบตัวรถไมโครบัสไฟฟ้าให้สมบูรณ์ เพื่อประเมินสมรรถนะและระยะทางสูงสุดที่สามารถวิ่งได้ต่อการชาร์จแบตเตอรี่ 1 ครั้ง ของต้นแบบรถไมโครบัสไฟฟ้าและระบบกักเก็บพลังงานแบบผสมที่พัฒนาขึ้น จะท าการทดสอบจากแบบจ าลองทางพลวัติและทดสอบตัวรถต้นแบบจริงภายใต้ 2 เงื่อนไขการท างานดังนี้ เงื่อนไขที่แรก ทดสอบขับเคลื่อนรถต้นแบบโดยใช้ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอออนอย่างเดียว เงื่อนไขที่สอง ทดสอบขับเคลื่อนรถต้นแบบโดยใช้ระบบกักเก็บพลังงานแบบผสม โดยใช้พลังงานจากระบบกักเก็บพลังงานเสริมอัลตร้าคาปาซิเตอร์ขับเคลื่อนรถต้นแบบจากหยุดนิ่งจนถึงความเร็ว 10km/h หลังจากนั้นเปลี่ยนไปขับเคลื่อนโดยใช้ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอออนไปจนถึงความเร็วสูงสุด ท าการบันทึกระยะทางสูงสุดที่สามารถวิ่งได้ ความแตกต่างของระยะทางที่วัดได้จะแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของระบบกักเก็บพลังงานแบบผสมที่พัฒนาขึ้น<br><br>The main objective of this research project is to research and develop an electric microbus prototype for urban transportation. The developed electric microbus prototype will be able to use a Hybrid Energy Storage System (HESS) consisting of a lithium-ion battery primary storage system (BESS) and an auxiliary ultracapacitor storage system (UESS). The research process starts from the design and manufacture of an 8 meters electric microbus body at the production line of Cho Thavee Public Company Limited. At the same time design and develop a prototype of a hybrid energy storage system, powertrain unit which included a 50kW PMSM traction motor, installed at rear driveshaft, and speed and torque controlled by using traction inverter, vehicle control unit, and other standard parts. Then completed the assembly process for electric microbus prototype. To evaluate the performance and maximum distance per 1 time of a lithium-ion primary battery charged of the developed electric microbus prototype and the developed hybrid energy storage system prototype, the dynamic modeling and electric microbus experimental system, are performed testing under two operating conditions. The first condition is running the electric microbus by using only lithium-ion battery. The second condition is running by using hybrid energy storage system, which start the car from standstill till around 10km/h of speed by an auxiliary ultracapacitor energy storage system, then continuous running increase speed to maximum by battery energy storage system. Recorded the maximum distance of both testing conditions. The difference in measured distances will demonstrate the potential of the developed hybrid energy storage system.
Date of Publication :
02/2023
Publisher :
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
Category :
รายงานการวิจัย
Total page :
77012 pages
People Who Read This Also Read