Top 3 Fandom ยอดนิยมในอาเซียน
ก่อนที่เราจะไปทำความรู้จักกับพฤติกรรมแฟนด้อม มาดูนิยามแฟนด้อมกันสักหน่อย โดยการวิจัยครั้งนี้ ฮิลล์ อาเซียน ให้นิยามของ “แฟนด้อม” หมายถึง ผู้คนที่มีความหลงใหลชื่นชอบในตัวบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นศิลปินไอดอล การ์ตูน กีฬา งานอดิเรกต่างๆ ทั้งยังรวมถึง อาณาจักรหรือวัฒนธรรมของกลุ่มของคนคอเดียวกัน ที่มารวมตัวกันด้วยความชอบใดความชอบหนึ่ง ที่ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า “Oshi-katsu” ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่กำลังเป็นเทรนด์อยู่ในแดนปลาดิบขณะนี้
แม้แฟนด้อมเป็นเรื่องที่มีมานาน และหลายแบรนด์ทำการตลาดกับผู้บริโภคกลุ่มนี้ไม่น้อย แต่สิ่งที่ทำให้แฟนด้อมมีการรวมตัวกันและกลายเป็นแฟนด้อมกลุ่มใหม่ๆ เป็นจำนวนมาก ฮิลล์ อาเซียน บอกว่า มีเหตุผลหลัก 2 ข้อ
1.ในช่วงโควิด-19 คนมีเวลาอยู่บ้านมากขึ้น ทำให้มองหาสิ่งใหม่ๆ ทำมากขึ้น ทั้งการลุกขึ้นมาเลี้ยงสัตว์ ทำอาหาร
2.คนมีช่องทางที่เอื้อต่อการแชร์ข้อมูลและเข้าถึงสิ่งที่ชื่นชอบมากขึ้น อันเนื่องมาจากการแพร่หลายของโซเชียลมีเดีย
รู้หรือไม่ว่า
"แฟนด้อมไทย เปย์หนักสุดในอาเซียน”
ไม่ใช่การมองจากแค่ปรากฏการณ์บัตรคอนเสิร์ตและแฟนมีตไอดอลเกาหลีที่ขายหมดเกลี้ยงเมื่อมีการจัดกิจกรรมที่เมืองไทย
โดยเฉพาะช่วงเปิดศักราชปี 2566 จากภาพความสำเร็จของงานประกาศรางวัลและโชว์คุณภาพ
"Golden Disc Awards 2023" ที่เกาหลีใต้ขนเอากองทัพไอดอล
ศิลปิน และนักแสดงมารวมตัวกัน ที่สนามราชมังคลากีฬาสถาน ในไทย และคอนเสิร์ต
ของศิลปินเกิร์ลกรุ๊ประดับโลก Black Pink ที่สนามสุภชลาศัยในชื่อคอนเสิร์ต
“Born Pink World Tour” เพราะระดับการเปย์ของแฟนด้อมเกาหลีในไทยเรายังได้รับการยืนยันมาจากการสำรวจของสถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด
อาเซียน หรือฮิลล์ อาเซียน ที่ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอาเซียน (ASEAN
Sei-katsu-sha) ในหัวข้อ “เจาะลึกเรื่องแฟนด้อม: ฐานพลังคนกลุ่มใหม่
สู่การขับเคลื่อนสังคมอาเซียน” ที่ช่วยการันตี
การสำรวจยังบอกความสนใจของแฟนด้อมอาเซียน
5* จาก 6
ประเทศด้วยว่า 3 อันดับแรก มี K Pop ติดอันดับ โดยเฉพาะประเทศไทยที่เด่นชัด เทความสนใจให้กับ K Pop แบบจัดเต็ม โดยยังเป็นประเทศเดียวที่ความคลั่งไคล้ใน K Pop ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ทำให้เกิดหนึ่งคำถามสำคัญว่าเรากำลังเสียดุล
หรือ แท้จริงแล้วเราได้อะไรจากการเป็นติ่งหรือเป็นประชากรแฟนด้อมมากกว่าที่คิด OKMD
อยากชวนคุณถอดบทเรียนไปพร้อมสำรวจความเป็นติ่งในสังคมไทย
รู้หรือไม่ว่า "แฟนด้อมไทย เปย์หนักสุดในอาเซียน” ไม่ใช่การมองจากแค่ปรากฏการณ์บัตรคอนเสิร์ตและแฟนมีตไอดอลเกาหลีที่ขายหมดเกลี้ยงเมื่อมีการจัดกิจกรรมที่เมืองไทย โดยเฉพาะช่วงเปิดศักราชปี 2566 จากภาพความสำเร็จของงานประกาศรางวัลและโชว์คุณภาพ "Golden Disc Awards 2023" ที่เกาหลีใต้ขนเอากองทัพไอดอล ศิลปิน และนักแสดงมารวมตัวกัน ที่สนามราชมังคลากีฬาสถาน ในไทย และคอนเสิร์ต ของศิลปินเกิร์ลกรุ๊ประดับโลก Black Pink ที่สนามสุภชลาศัยในชื่อคอนเสิร์ต “Born Pink World Tour” เพราะระดับการเปย์ของแฟนด้อมเกาหลีในไทยเรายังได้รับการยืนยันมาจากการสำรวจของสถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน หรือฮิลล์ อาเซียน ที่ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอาเซียน (ASEAN Sei-katsu-sha) ในหัวข้อ “เจาะลึกเรื่องแฟนด้อม: ฐานพลังคนกลุ่มใหม่ สู่การขับเคลื่อนสังคมอาเซียน” ที่ช่วยการันตี
การสำรวจยังบอกความสนใจของแฟนด้อมอาเซียน 5* จาก 6 ประเทศด้วยว่า 3 อันดับแรก มี K Pop ติดอันดับ โดยเฉพาะประเทศไทยที่เด่นชัด เทความสนใจให้กับ K Pop แบบจัดเต็ม โดยยังเป็นประเทศเดียวที่ความคลั่งไคล้ใน K Pop ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ทำให้เกิดหนึ่งคำถามสำคัญว่าเรากำลังเสียดุล หรือ แท้จริงแล้วเราได้อะไรจากการเป็นติ่งหรือเป็นประชากรแฟนด้อมมากกว่าที่คิด OKMD อยากชวนคุณถอดบทเรียนไปพร้อมสำรวจความเป็นติ่งในสังคมไทย
เวลานี้เทรนด์ของ “แฟนด้อม” (Fandom) หรือกลุ่มแฟนคลับที่มีความชื่นชอบหรือหลงไหลในสิ่งใดสิ่งหนึ่งนับวันจะมาแรง ทั้งยังเกิดขึ้นในหลากหลายวงการ จากในอดีตฐานของแฟนด้อมส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มศิลปิน K-Pop และแวดวงกีฬาเท่านั้น ขณะเดียวกัน ฐานของแฟนด้อมเหล่านี้ยังมีพลังในการจับจ่ายสูงและสามารถสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ให้กับนักการตลาด เจ้าของสินค้าและบริการเพิ่มชึ้น
ดังนั้น เพื่อให้แบรนด์สามารถเข้าถึงผู้บริโภคกลุ่มนี้ได้มากขึ้น “สถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน” หรือ “ฮิลล์ อาเซียน” (HILL ASEAN) ได้เผยพฤติกรรมผู้บริโภคอาเซียน ในหัวข้อ “เจาะลึกแฟนด้อม: ฐานพลังคนกลุ่มใหม่ สู่การขับเคลื่อนสังคมอาเซียน” โดยสำรวจกลุ่มตัวอย่าง 4,900 ราย ใน 6 ประเทศอาเซียน ได้แก่ ประเทศไทย, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย. สิงคโปร์, เวียดนาม และฟิลิปปินส์ รวมถึงประเทศญี่ปุ่น ซึ่งพบข้อมูลน่าสนใจมากมายที่นักการตลาดไม่ควรมองข้าม เพราะบอกเลยว่าแฟนด้อมมีพลัง “จับจ่าย” ไม่ธรรมดา โดยเฉพาะแฟนด้อมไทย เปย์หนักสุดในอาเซียนทีเดียว
Top 3 Fandom ยอดนิยมในอาเซียน
ก่อนที่เราจะไปทำความรู้จักกับพฤติกรรมแฟนด้อม มาดูนิยามแฟนด้อมกันสักหน่อย โดยการวิจัยครั้งนี้ ฮิลล์ อาเซียน ให้นิยามของ “แฟนด้อม” หมายถึง ผู้คนที่มีความหลงใหลชื่นชอบในตัวบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นศิลปินไอดอล การ์ตูน กีฬา งานอดิเรกต่างๆ ทั้งยังรวมถึง อาณาจักรหรือวัฒนธรรมของกลุ่มของคนคอเดียวกัน ที่มารวมตัวกันด้วยความชอบใดความชอบหนึ่ง ที่ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า “Oshi-katsu” ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่กำลังเป็นเทรนด์อยู่ในแดนปลาดิบขณะนี้
URL อ้างอิง: